ตัวบ่งชี้เพิ่มเติม ของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน รอบ 12 เดือน
ตัวบ่งชี้ที่ 2ร้อยละความพึงพอใจการให้บริการในภาพรวม
ชนิดตัวบ่งชี้ผลลัพธ์
คำอธิบายตัวบ่งชี้
      สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มีพันธกิจหลักในการสนับสนุนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย และการให้บริการวิชาการแก่นักศึกษา คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และบุคคลภายนอก เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการ
เกณฑ์การให้คะแนน
ใช้ค่าเฉลี่ยของผลการประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการ (คะแนนเต็ม 5)

ผลการดำเนินงาน
ข้อ
ข้อมูลพื้นฐาน
ผลการดำเนินงาน
1
คะแนนการประเมินด้านการให้บริการ
3.75
2
คะแนนการประเมินด้านบุคลากร
3.71
3
คะแนนการประเมินด้านสิ่งสนับสนุน
3.77
4
คะแนนการประเมินด้านคุณภาพการให้บริการ
3.65
ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมิน
3.72

รายการหลักฐาน
  1. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2559
ผลการประเมินปีที่ผ่านมา
ลำดับตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงานคะแนนอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้  สกอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 2
เป้าหมายที่กำหนด
ผลที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
คะแนน
3.51 คะแนน
3.66 คะแนน
บรรลุ
3.66 คะแนน


ผลการประเมินตนเองปีนี้

ลำดับตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงานคะแนนอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้  สกอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 2
เป้าหมายที่กำหนด
ผลที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
คะแนน
3.51 คะแนน
3.72 คะแนน
บรรลุ
3.72 คะแนน


ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีนี้

ลำดับตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงานคะแนนอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้  สกอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 2
เป้าหมายที่กำหนด
ผลที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
คะแนน
3.51 คะแนน
3.72 คะแนน

จุดแข็ง
  • บุคลากรในหน่วยงานมีแนวคิดใหม่ ๆ ในการพัฒนาระบบการให้บริการที่สร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง
จุดอ่อน
  • ในการจัดหานวัตกรรมใหม่ๆ มาสนับสนุนการพัฒนาระบบการให้บริการ และอำนวยความสะดวกให้แก่นักศึกษา คณาจารย์ รวมถึงบุคคลภายนอกนั้น ใช้งบประมาณในการจัดหา พัฒนา และปรับปรุงระบบต่างๆ ค่อนข้างสูงเกินกว่างบประมาณที่ได้รับในแต่ละปี การพัฒนาระบบงานต่างๆ จึงไม่สามารถพัฒนาให้แล้วเสร็จในระยะแรก บางรายการอาจไม่ทันต่อความต้องการใช้งาน
ข้อเสนอแนะ
  • การให้บริการ ถือเป็นพันธกิจของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ทั้งในด้านงานทะเบียนและประมวลผล งานประสานงานด้านหลักสูตรและแผนการเรียน ซึ่งการให้บริการดังกล่าวเกี่ยวข้องโดยตรงกับนักศึกษา และคณาจารย์ การพัฒนาระบบการให้บริการ โดยนำเทคโนโลยี/นวัตกรรมใหม่ๆ มาสนับสนุนการให้บริการนั้น จำเป็นต้องใช้งบประมาณ ในระดับหนึ่ง เช่นการพัฒนาระบบปฏิบัติงานทะเบียนและประมวลผล การพัฒนาโปรแกรมการจัดตารางเรียน-ตารางสอบ เพื่อรองรับข้อจำกัดด้านห้องเรียนและช่วงเวลาของอาจารย์ผู้สอน เป็นต้น