องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
ชนิดของตัวบ่งชี้กระบวนการ
ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้  : อาจารย์ ดร.บัณฑิตา  อินสมบัติ ผู้จัดเก็บข้อมูล : นางสาวณัฐชนันท์  สาลี
โทรศัพท์ : 0 5621 9100-29  ต่อ 1213 โทรศัพท์ :  056219100 – 29  ต่อ 1213

เกณฑ์การประเมิน
:
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดำเนินการ
1 ข้อ
มีการดำเนินการ2 หรือ 3 ข้อ
มีการดำเนินการ4 หรือ 5 ข้อ
มีการดำเนินการ
6 ข้อ
มีการดำเนินการ
7 ข้อ

ผลการประเมินตนเอง
มี
ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
ผลดำเนินการ
หลักฐาน
1
มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของหลักสูตร
บัณฑิตวิทยาลัยมีระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยทุกหลักสูตรกำหนดให้ผู้เรียนมีการศึกษาค้นคว้าเพื่อสร้างความรู้ใหม่ด้วยตนเองทั้งการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ รวมทั้งตั้งงบประมาณสนับสนุนให้นักศึกษาทุกหลักสูตรมีการอภิปราย การสัมมนา การศึกษานอกสถานที่ หรือการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ  มาให้ความรู้  อาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชาได้มีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนจากผลประเมินการจัดการเรียนการสอน 2-2.6-MR-1 ประกาศระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน พ.ศ.2553
2-2.6-MR-2 ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เรื่องแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการเรียนการสอน  
2-2.6-MR-3 เล่มหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
2-2.6-MR-4 รายละเอียดวิชา  (มคอ.3)
2-2.6-MR-5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ. 5)   
2-2.6-MR-6 หนังสือเชิญวิทยากร
2-2.6-MR-7 รายละเอียดงบประมาณ
2-2.6-MR-8 สรุปโครงการศึกษาดูงาน และโครงการสัมมนา
2
ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม(ถ้ามี)ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ทุกรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา
มีการจัดทำรายละเอียดวิชา โดยมีการกำหนดหัวข้อในรายละเอียดวิชา อาทิเช่น จุดมุ่งหมายของรายวิชา  ลักษณะการดำเนินงาน การพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทรัพยากรการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผล โดยอาจารย์ผู้สอนจะทำการชี้แจงรายละเอียดของวิชาในครั้งแรกที่พบนักศึกษาบัณฑิต ศึกษา 
2-2.6-MR-2 ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เรื่องแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการเรียนการสอน
2-2.6-MR-4 รายละเอียดรายวิชา (มคอ.3)
3
ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทำวิจัย ทุกหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษากำหนดให้มีรายวิชาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงทั้งในและนอกชั้นเรียน โดยจัดให้มีชั่วโมงปฏิบัติการอภิปรายกลุ่ม และสัมมนาโดยกำหนดไว้ในโครงการสอนหรือรายละเอียดรายวิชา  นอกจากนี้บัณฑิตวิทยาลัยยังได้จัดงบประมาณสนับสนุนให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมประสบการณ์นอกห้องเรียน โดยการศึกษาดูงานในหน่วยงานทางการศึกษา และสถานประกอบการต่างๆ  นอกจากนี้ในแต่ละสาขาวิชาได้จัดโครงการนำนักศึกษาเยี่ยมชมหน่วยงานภายนอก แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
เพื่อเพิ่มประสบการณ์แก่นักศึกษา และการสอบวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมาเป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ทุกครั้ง  
2-2.6-MR-4  รายละเอียดรายวิชา (มคอ.3)
2-2.6-MR-9  แบบบันทึกการขอคำปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อควบคุมวิทยานิพนธ์บัณฑิตวิทยาลัย
2-2.6-MR-10 โครงการศึกษาดูงาน และโครงการสัมมนา
2-2.6-MR-6 หนังสือเชิญวิทยากร
4
มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร บัณฑิตวิทยาลัยได้สนับสนุนให้อาจารย์ผู้สอนเชิญบุคลากรภายนอก
มาให้ความรู้เพิ่มประสบการณ์ให้แก่นักศึกษาในรายวิชาที่เปิดสอนโดย สาขาการบริหารการศึกษาได้เชิญผู้อำนวยการโรงเรียนวัดหัวงิ้ว มาบรรยายในรายวิชาสัมมนาทางการบริหารการศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ทางทฤษฎีไปใช้ในทางปฏิบัติและมีความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัย  สาขาการบริหารเพื่อพัฒนาท้องถิ่นได้เชิญอาจารย์ ดร.สมทรง  บรรจงธิติทานต์ มาบรรยายให้ความรู้เพิ่มประสบการณ์แก่นักศึกษาใน
สาขา และในการจัดสอบวิทยานิพนธ์บัณฑิตวิทยาลัยได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญในทางวิชาการหรือวิชาชีพ (หมวด 3 การควบคุมคุณภาพการศึกษา) มาเป็นผู้ทรงคุณวุฒิใน
การสอบวิทยานิพนธ์  และได้เชิญวิทยากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพด้านต่างๆ 
2.6-MR-6 หนังสือเชิญวิทยากร
2-2.6-MR-8  สรุปโครงการศึกษาดูงาน และโครงการสัมมนา
2-2.6-MR-11  ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ว่าด้วยการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550  (หมวด 3 การควบคุมคุณภาพการศึกษา) ข้อ 14
2-2.6-MR-12  หนังสือเชิญผู้ทรงคุณวุฒิในการสอบวิทยานิพนธ์
5
มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจากระบบการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน สำนักงานบัณฑิตวิทยาลัยโดยสาขาการบริหารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นได้มีการจัดกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในรูปแบบของจัดโครงการฝึกอบรมและสัมมนาภาคสนามฯ ขึ้น ณ ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์  เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2-2.6-MR-8 สรุปโครงการ
2-2.6-MR-10 โครงการศึกษาดูงาน และโครงการสัมมนา
6
มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 บัณฑิตวิทยาลัยได้จัดให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาได้ประเมินผลการสอนของอาจารย์ผู้สอนทุกรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2555 และมีผลการประเมินความพึงพอใจอาจารย์ผู้สอนมากกว่า 3.51 ทุกรายวิชา 2-2.6-MR-13  รายงานผลการประเมินอาจารย์โดยนักศึกษาประจำปีการศึกษา 2555
7
มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอนหรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา - -

ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีที่แล้ว
 :  
ลำดับตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงานคะแนนอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ สกอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
6 ข้อ
7 ข้อ
บรรลุ
5 คะแนน

ผลการประเมินตนเองปีนี้
ลำดับตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงานคะแนนอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ สกอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
6 ข้อ
6 ข้อ
บรรลุ
4 คะแนน

การประเมินของคณะกรรมการปีนี้
:
ลำดับตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงานคะแนนอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ สกอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
6 ข้อ
6 ข้อ
บรรลุ
4 คะแนน

จุดแข็ง
  • สาขาวิชามีการเชิญผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ในสาขาต่างๆ มามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาที่ทำการจัดการเรียนการสอน
จุดอ่อน
  • ไม่มี
ข้อเสนอแนะ
  • ไม่มี