ตัวบ่งชี้ที่ 4 ระดับความพึงพอใจการให้บริการในภาพรวม
ชนิดตัวบ่งชี้ ผลลัพธ์
คำอธิบายตัวบ่งชี้
สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มีเป้าประสงค์ในการเป็นหน่วยงาน ที่มีคุณภาพด้านการบริการวิชาการ โดยมุ่งเน้นการให้บริการแก่นักศึกษา คณาจารย์ และบุคคลทั่วไป ด้วยจรรยาบรรณในการทำงาน มีความเสมอภาค และสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการในรูปแบบต่าง ๆ และมีช่องทางการให้บริการผ่านทางหน้าเว็บไซต์ของหน่วยงาน นอกจากนี้หน่วยงานได้มีการพัฒนาระบบงานเพื่อการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ และยกระดับการให้บริการงานตาม
พันธกิจของหน่วยงาน ให้มีความทันสมัย มีความถูกต้อง สะดวก รวดเร็ว และมีการปรับปรุงพัฒนาฐานข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ
ปัจจุบันสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มีการพัฒนาระบบสนับสนุนการให้บริการทั้งในส่วนของ
การปรับปรุงระบบงาน และการพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงาน ในปีการศึกษา 2564 หน่วยงานดำเนินการประเมินความพึงพอใจการใช้งานระบบจากผู้ใช้งาน โดยคัดเลือกระบบงานที่เกี่ยวข้องและส่งผลกระทบต่อผู้ใช้มากที่สุด จำนวน 3 ระบบงาน ได้แก่
ระบบเพิ่ม-ถอนรายวิชา ช่วยสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถลงทะเบียนจองรายวิชาเรียนนอกเหนือจากแผนการเรียนในภาคเรียนปกติของตนเองได้ ปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การเข้าใช้งานโดยการพิมพ์
คำร้องเสนอเซ็นต์เพื่อขออนุมัติ จนถึงปัจจุบัน เป็นการใช้งานโดยการเพิ่ม-ถอนรายวิชาผ่านระบบออนไลน์ทั้งหมด โดยนักศึกษาไม่ต้องดำเนินการจัดพิมพ์เอกสารเพื่อขออนุมัติ
ระบบคำร้องออนไลน์ เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่นักศึกษา สามารถเข้าถึงการใช้งานได้ง่าย อีกทั้งยังช่วยลดระยะเวลา ลดความผิดพลาดของเอกสาร และลดการสูญหายของเอกสารคำร้อง นอกจากนี้นักศึกษายังสามารถติดตามการดำเนินการของคำร้องที่ตนเองยื่นเรื่องไว้ ว่าอยู่ในขั้นตอน กระบวนการใด สถานะคำร้องได้รับการอนุมัติแล้วหรือไม่
ระบบส่งผลการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต (สำหรับอาจารย์ผู้สอน) เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่อาจารย์ผู้สอน ในการส่งผลการเรียน รายวิชาที่รับผิดชอบ
เกณฑ์การให้คะแนน
ใช้ค่าเฉลี่ยของผลการประเมินความพึงพอใจภาพรวมของผู้ใช้สารสนเทศ (คะแนนเต็ม 5)
แนวทางการจัดเก็บข้อมูล
1. จัดเก็บข้อมูลการใช้งานระบบฯ จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 64- 31 กรกฎาคม 65
2. การประเมินการใช้งานระบบ เป็นการประเมินแบบออนไลน์ ในช่วงระยะเวลาที่ผู้ประเมินเข้าใช้งานระบบ
ผลการดำเนินงาน
ระบบคำร้องออนไลน์ เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่นักศึกษา สามารถเข้าถึงการใช้งานได้ง่าย อีกทั้งยังช่วยลดระยะเวลา ลดความผิดพลาดของเอกสาร และลดการสูญหายของเอกสารคำร้อง นอกจากนี้นักศึกษายังสามารถติดตามการดำเนินการของคำร้องที่ตนเองยื่นเรื่องไว้ว่าอยู่ในขั้นตอน กระบวนการใด สถานะคำร้องได้รับการอนุมัติแล้วหรือไม่ (n = 1,905)
ข้อ |
รายการประเมิน |
ผลประเมิน |
ก. ด้านประสิทธิภาพและประโยชน์ของระบบ
|
4.26
|
|
การใช้งานระบบง่าย ไม่ซับซ้อน
|
4.28
|
|
เมนูของระบบมีความเหมาะสม
|
4.27
|
|
ขั้นตอนการใช้งานของระบบมีความเหมาะสม
|
4.26
|
|
ระบบคำร้องออนไลน์ ช่วยทำให้การกรอกข้อมูลคำร้องรวดเร็วขึ้น
|
4.26
|
|
ความสะดวกในการตรวจสอบและติดตามคำร้องที่ยื่นเรื่องผ่านระบบ
|
4.25
|
|
ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล
|
4.24
|
|
ความถูกต้องของข้อมูลที่ให้บริการ
|
4.27
|
ข. ด้านการออกแบบ
|
4.23
|
|
ความสวยงาม ความทันสมัย และน่าสนใจของหน้าระบบ
|
4.21
|
|
การจัดหมวดหมู่ของข้อมูลสะดวกต่อการใช้งาน
|
4.24
|
|
ความเหมาะสมในการเลือกใช้ชนิดอักษรและความชัดเจนของข้อความที่แสดง
บนจอภาพ
|
4.24
|
|
ความเหมาะสมในการใช้สัญลักษณ์หรือรูปภาพในการสื่อความหมาย
|
4.25
|
|
การนำเสนอเนื้อหา ข้อมูลเป็นระบบและเรียงตามลำดับขั้นตอน
|
4.24
|
ค. ด้านการสนับสนุนและการให้บริการการใช้งาน
|
4.21
|
|
ความรวดเร็วในการให้บริการและการแก้ไขปัญหา
|
4.20
|
|
เอกสาร/คู่มือประกอบการใช้งานมีความชัดเจนเข้าใจง่าย
|
4.22
|
|
มีช่องทางในการติดต่อ/สอบถามปัญหาอย่างเพียงพอ
|
4.20
|
คะแนนการประเมินระบบคำร้องออนไลน์
|
4.24
|
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
- ควรจะมีการเพิ่มช่องหมายเหตุเพิ่มเติม เนื่องจากเอกสารบางอย่างมีข้อมูลที่ไม่ครบตามต้องการ
- ควรยื่นเอกสารออนไลน์ให้อาจารย์อนุมัติในระบบแทนการวิ่งหาอาจารย์เพื่อให้อาจารย์เซ็น เพราะไม่ทันต่อเวลา
- อนุมัติคำร้องบางเรื่องมีความล่าช้ามากที่สุด
|
ระบบเพิ่ม-ถอนรายวิชา
ช่วยสนับสนุนให้นักศึกษาสามารถลงทะเบียนจองรายวิชาเรียนนอกเหนือจากแผนการเรียนในภาคเรียนปกติของตนเองได้ ปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่การเข้าใช้งานโดยการพิมพ์
คำร้องเสนอเซ็นต์เพื่อขออนุมัติ ปัจจุบันเป็นการใช้งานโดยการเพิ่ม-ถอนรายวิชาผ่านระบบออนไลน์ทั้งหมด โดยนักศึกษาไม่ต้องดำเนินการจัดพิมพ์เอกสารเพื่อขออนุมัติ (n = 2,172)
ข้อ |
ข้อมูลพื้นฐาน |
ผลประเมิน |
ก. ด้านประสิทธิภาพและประโยชน์ของระบบ
|
4.23
|
1
|
การใช้งานระบบง่าย ไม่ซับซ้อน
|
4.26
|
2
|
เมนูของระบบมีความเหมาะสม
|
4.24
|
3
|
ขั้นตอนการอนุมัติรายวิชามีความเหมาะสม
|
4.23
|
4
|
มีความสะดวกในการตรวจสอบและติดตามรายวิชาที่อนุมัติ
|
4.24
|
5
|
ความสามารถในการแจ้งเตือนผ่าน Line Notify
|
4.18
|
6
|
ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล
|
4.23
|
7
|
ความถูกต้องของข้อมูลที่ให้บริการ
|
4.26
|
ข. ด้านการออกแบบ
|
4.23
|
8
|
มีความสวยงาม ความทันสมัย และน่าสนใจ
|
4.20
|
9
|
การจัดหมวดหมู่ของข้อมูลสะดวกต่อการใช้งาน
|
4.23
|
10
|
ความเหมาะสมในการเลือกใช้ชนิดอักษรและความชัดเจนของข้อความที่แสดง
บนจอภาพ
|
4.25
|
11
|
ความเหมาะสมในการใช้สัญลักษณ์หรือรูปภาพในการสื่อความหมาย
|
4.24
|
12
|
การนำเสนอเนื้อหา ข้อมูลเป็นระบบและเรียงตามลำดับขั้นตอน
|
4.24
|
ค. ด้านการสนับสนุนและการให้บริการการใช้งาน
|
4.21
|
13
|
ความรวดเร็วในการให้บริการและการแก้ไขปัญหา
|
4.21
|
14
|
เอกสาร/คู่มือประกอบการใช้งานมีความชัดเจนเข้าใจง่าย
|
4.21
|
15
|
มีช่องทางในการติดต่อ/สอบถามปัญหาอย่างเพียงพอ
|
4.21
|
คะแนนการประเมินระบบคำร้องออนไลน์
|
4.23
|
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
-
|
ระบบส่งผลการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต
(สำหรับอาจารย์ผู้สอน) เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่อาจารย์ผู้สอน ในการส่งผลการเรียน รายวิชาที่รับผิดชอบ (n = 61)
ข้อ |
ข้อมูลพื้นฐาน |
ผลประเมิน |
ก. ด้านประสิทธิภาพและประโยชน์ของระบบ
|
4.22
|
1
|
การเข้าสู่ระบบโดยใช้งานเดียวกับบัญชีผู้ใช้งาน NSRU Account
|
4.28
|
2
|
การนำเข้าข้อมูลคะแนนด้วยวิธีนำเข้าจากไฟล์ Excel
|
3.93
|
3
|
ความถูกต้องของคะแนนที่กรอก การสรุปคะแนน และการสรุปผลการเรียน
|
4.25
|
4
|
ความสามารถในการออกรายงาน
|
4.33
|
5
|
ประสิทธิภาพ/ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล
|
4.30
|
6
|
ความถูกต้องของข้อมูลที่ให้บริการ
|
4.30
|
7
|
ความเป็นปัจจุบันของข้อมูล ฐานข้อมูล
|
4.20
|
8
|
ความสามารถในการแจ้งเตือนในระบบบันทึกผลการเรียน
|
4.15
|
ข. ด้านการออกแบบ
|
4.15
|
1
|
การจัดหมวดหมู่ของข้อมูลสะดวกต่อการใช้งาน
|
4.11
|
2
|
ความง่ายในการใช้งานระบบ
|
4.18
|
3
|
ความเหมาะสมในการเลือกใช้ชนิดอักษรและความชัดเจนของข้อความที่แสดง
บนจอภาพ
|
4.20
|
4
|
ความเหมาะสมในการใช้สัญลักษณ์หรือรูปภาพในการสื่อความหมาย
|
4.13
|
5
|
ความเหมาะสมของปริมาณข้อมูลที่นำเสนอในแต่ละหน้าจอ
|
4.11
|
6
|
การนำเสนอเนื้อหา ข้อมูลเป็นระบบและเรียงตามลำดับขั้นตอน
|
4.16
|
คะแนนการประเมินระบบส่งผลการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต
|
4.19
|
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
-
|
สรุปผลการดำเนินงาน
จากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสารสนเทศของหน่วยงาน ที่มีต่อการใช้บริการผ่านระบบงานออนไลน์ ของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มีผลคะแนนประเมินเท่ากับ 4.22 คะแนน ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลความพึงพอใจของผู้ใช้สารสนเทศที่เพิ่มมากขึ้น มีดังนี้
1. หน่วยงานมีการทบทวนผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และเปิดรับข้อมูลความของผู้ใช้งานอย่างสม่ำเสมอ พร้อมทั้งนำข้อมูลดังกล่าวมาปรับปรุงระบบงาน
2. หน่วยงานนำข้อเสนอแนะที่ได้มาจัดทำแผนพัฒนาสารสนเทศของหน่วยงาน เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของผู้ใช้งาน
3. มีการติดตามผลการใช้งานอย่างต่อเนื่อง ทั้งจากการทดลองระบบงานโดยเจ้าหน้าที่ผู้พัฒนา และจากข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนได้เสีย พร้อมทั้งนำผลมาปรับปรุง
4. มีนำเข้าข้อมูลที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน การตอบสนองในการเข้าถึงข้อมูลมีความรวดเร็ว
แนวทางการปรับปรุงและพัฒนาตามข้อเสนอแนะจากผลการประเมิน
จากข้อเสนอแนะจากผู้ใช้งานระบบฯ ในเรื่องของขั้นตอนการเสนอลงนามในเอกสารคำร้องฯ จากผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน อาทิ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ผู้สอน ห้องสมุด ฯลฯ อีกทั้งการลงนามในเอกสารนั้นไม่สามารถดำเนินการได้ในรูปแบบออนไลน์ ส่งผลให้เกิดความล่าช้า สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มีแนวทางแก้ไขปัญหาดังนี้
1. ทบทวนกระบวนการ/ขั้นตอนการรับคำร้องประเภทต่าง ๆ เพื่อปรับลดขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้มี
ความกระชับมากยิ่งขึ้น
2. การปรับปรุงระบบให้บริการคำร้องออนไลน์ ให้สามารถดำเนินการอนุมัติเรื่องแบบออนไลน์ครบทุกขั้นตอน มีหลักการเบื้องต้นคือ เมื่อนักศึกษาเข้าระบบคำร้องออนไลน์ และกดบันทึกคำร้องหนึ่ง ๆ ระบบจะทำการประมวลผลข้อมูลผู้เกี่ยวข้อง โดยจะดึงข้อมูลอาจารย์ที่ปรึกษา /อาจารย์ประจำวิชา /อาจารย์ประจำสาขา หรือส่วนงานที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจะมีการแจ้งเตือนโดยผ่านระบบ Line Notify ไปยังบุคลตามรายชื่อที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ความเห็น หรือลงนามอนุมัติคำร้อง ทั้งนี้นักศึกษาสามารถติดตามสถานะคำร้องผ่านระบบติดตามคำร้องออนไลน์ (การให้บริการด้านคำร้องออนไลน์อยู่ระหว่างการปรับปรุง พัฒนาให้อยู่ในรูปแบบออนไลน์ 100%)
รายการหลักฐาน
1. รายงานผลการประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2565 (รอบ 9 เดือน)
ผลการประเมินปีที่ผ่านมา
ลำดับตัวบ่งชี้ |
ผลการดำเนินงานคะแนนอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ |
ตัวบ่งชี้ที่ 4
|
เป้าหมายที่กำหนด |
ผลที่ได้ |
การบรรลุเป้าหมาย |
คะแนน |
4.51 คะแนน |
4.34 |
ไม่บรรลุ |
4.34 คะแนน |
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ลำดับตัวบ่งชี้ |
ผลการดำเนินงานคะแนนอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ |
ตัวบ่งชี้ที่ 4
|
เป้าหมายที่กำหนด |
ผลที่ได้ |
การบรรลุเป้าหมาย |
คะแนน |
4.51 คะแนน |
4.22 |
ไม่บรรลุ |
4.22 |
ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีนี้
ลำดับตัวบ่งชี้ |
ผลการดำเนินงานคะแนนอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ |
ตัวบ่งชี้ที่ 4
|
เป้าหมายที่กำหนด |
ผลที่ได้ |
การบรรลุเป้าหมาย |
คะแนน |
4.51 คะแนน |
|
|
|
จุดแข็ง
-
จุดอ่อน
- ทรัพยากรสนับสนุนการพัฒนาระบบงานให้บริการ และระบบสารสนเทศไม่เอื้อต่อการพัฒนางาน เช่น คอมพิวเตอร์ที่มีสเปคที่เหมาะสมต่อการเขียนโปรแกรม
- ข้อจำกัดด้านระเบียบ แนวปฏิบัติที่ยังไม่สอดคล้องกับสถานการณ์การให้บริการผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อรองรับความต้องการใช้งานของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงาน
ข้อเสนอแนะ
-
|